บทความ

ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง Excutive Information System

ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง Excutive Information System ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Excutive Information System) หรือ EIS เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ หรือ สามารถกล่าวได้ว่าระบบนี้คือส่วนหนึ่งของ DSS ที่แยกออกมา เพื่อเน้นการให้สาร สนเทศที่สำคัญต่อการบริหารแก่ผู้บริหารระดับสูง ลักษณะ รายละเอียด ระดับการใช้งานทักษะทางคอมพิวเตอร์ ความยืดหยุ่น การใช้งาน การสนับสนุนการตัดสินใจ การสนับสนุนข้อมูล ผลลัพธ์ที่แสดง การใช้งานกราฟิก ความเร็วในการตอบสนอง มีการใช้งานบ่อยไม่จำเป็นต้องมีทักษะสูงระบบจะสามารถใช้งานได้งาน สูงจะต้องสามารถเข้ากันได้ทุกรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร ใช้ในการตรวจสอบควบคุม ผู้บริหารระดับสูงไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ตัวอักษร ตาราง ภาพและเสียง รวมทั้งระบบมัลติมีเดีย สูง จะใช้รูปแบบการนำเสนอต่างๆ จะต้องตอบสนองอย่างรวดเร็ว ทันทีทันใด ตารางแสดงลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ระบบ EIS จะใช้ข้อมูลทั้งภายในและภายนอกองค์กร (เช่น รายงานจากหน่วยงานขอ

EIS ระบบสารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงตัดสินใจ

รูปภาพ
การทำครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 6358322 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Management Information Systems ระบบสารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารระดับสูงตัดสินใจ ( EIS)             EIS    ย่อมาจาก    executive information system   แปลว่า ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร หมายถึง    การนำสารสนเทศหรือข้อมูลต่าง ๆ มาเก็บไว้ในรูปแบบที่ผู้บริหารมักจะต้องการใช้ และสามารถจะเรียกมาดู หรือใช้ได้สะดวก  ระบบข่าวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง ( EIS)  เป็นระบบข่าวสารที่มีความสำคัญต่อผู้บริหารองค์กร ในเรื่องการพิจารณากำหนดนโยบาย วางแผนกลยุทธ์ขององค์กร ให้สามารถจัดการองค์กร ให้สามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายหรือแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ                  การจัดทำระบบข่าวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง มิอาจจัดทำโดยเอกเทศได้โดยลำพัง จะต้องรอผลการพัฒนาระบบข้อมูล-ข่าวสารขั้นต้นอื่นๆ ขึ้นก่อน ข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงานในระบบ  TPS, MIS  และ/หรือ  DSS  จะเป็นรากฐานที่สามารถนำมาสรุปประมวลผลกับข้อมูลภายนอก (ถ้าจำเป็น)  เพื่อประกอบการตัดสินใจ บ่อยครั้งการพัฒนาระบบ  EIS  จากวิธีการข้างต้น มิอาจได้ข้อมูลภายใ

พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ (Phuket mining museum)

รูปภาพ
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ (Phuket mining museum)              สมัยแต่ดังเดิมเหมืองแร่เป็น "หัวใจ" หลักของชาวภูเก็ต แต่สมัยนี้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของชาวภูเก็ต  ซึ่งในเหมืองแร่ภูเก็ต มีเหตุการณ์จำลองรูปแบบการทำเหมืองแร่ดีบุกต่างๆ  ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่มีทั้งภายในและภายนอก ซึ่งภายนอกจะมีจำพวก เหมืองแล่น เหมืองรู เหมืองหาบ เหมืองฉีด เหมืองรูขุด แต่ภายในจะเน้นวิถีชีวิตต่างๆของคนภูเก็ตรวมถึงวิธีการจัดทำแร่ด้วย                            สมัยแต่บรรพบุรุษชาวภูเก็ตทำมาหากินโดยอาศัยแร่ดีบุกเป็นเครื่องยังชีพ ยึดเหนียวจิตใจมาโดยตลอด ฐานะทางเศรษฐกิจของคนภูเก็ตจึงค่อนข้างดี ต่อมากิจการแร่ซบเซาอย่างมากจึงต้องปิดกิจการ เนื่องจากแร่ดีบุกค่อนข้างลดลงอย่างมาก จำนวนแร่ที่ขุดก็ไม่พอกับค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้จ่าย  เศรษฐกิจเลยยำแย่ซบเซาอยู่ได้พักหนึ่ง ซึ่งมีกิจการใหม่ที่ทำรายได้ให้กับคนในภูเก็ตไม่แพ้กับการขุดแร่ดีบุก คือ ธุร กิจการท่องเที่ยว              แต่เดิมการทำเหมืองแร่เดิมนั้นจัดทำเหมืองแร่ตรงที่ค้นพบเยอะที่สุดอยู่ตรงพิพิธภัณฑ์เลย จนเลิกราจากการทำเหมือง ต

กระบวนการยุติธรรม

รูปภาพ
กระบวนการยุติธรรม สรุป กระบวนการยุติธรรมของไทย  กระบวนการยุติธรรม หมายถึง การดำเนินการคดีเมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้น ระหว่างผู้เสียหายร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงานมีการสืบสวนหาข้อเท็จจริงกับผู้กระทำผิดจนถึงการฟ้องร้องต่อศาล ทั้งในกรณีของคดีแพ่งและคดีอาญา  บุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม  1. ประชาชน หมายถึง ประชาชนผู้เกี่ยวข้อง ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จำเลย พยาน  2. พนักงานสอบสวนหรือตำรวจ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ปลัดอำเภอ นายอำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด  3. พนักงานอัยการ มีหน้าที่ฟ้องคดีผู้ถูกกล่าวหาต่อศาล เป็นทนายโจทก์หรือทนายจำเลย หรือทนายความของแผ่นดิน  4. ทนายความ คือ ผู้ที่ดำเนินคดีให้แก่ลูกความในศาล  5. ศาล มีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ  1. ศาลชั้นต้น คือ ศาลเริ่มต้นคดี แบ่งเป็น ศาลแขวง คือ ศาลพิจารณาคดีเล็ก ๆ เช่น ลักทรัพย์ ยักยอก ทำร้ายร่างกาย ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร 2. ศาลอุทธรณ์ คือ ศาลที่พิจารณาพิพากษาคดีที่ศาลชั้นต้นได้พิจารณาแล้ว ได้แก่  - ศาลอุทธรณ์  - ศาลอุทธรณ์ภาค 1 - ภาค 9  3. ศาลฎีกา

momay

รูปภาพ
เรามีนามว่า อัญญณี ลีลา เลขที่51 ห้อง591 6356601 วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมายทั่วไป สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อาจารย์ผู้สอน อ.ปนัดดา ทรัพย์สมาน เกร็ดความรู้ กฎหมายคืออะไร     กฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่ใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษย์ในสังคม กฎหมาย มีลักษณะเป็นคำสั่ง ข้อห้าม ที่มาจากผู้มีอำนาจสูงสุดในสังคมใช้บังคับได้ทั่วไป ใครฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษหรือสภาพบังคับอย่างใดอย่างหนึ่ง     ระบบกฎหมายในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ได้แก่ ระบบกฎหมาย ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร     ระบบกฎหมายสังคมนิยม และระบบกฎหมายศาสนา กฎหมายแต่ละระบบย่อมมีที่มาแต่งต่างกัน การแบ่งประเภทของกฎหมาย อาจแบ่งได้หลาย ลักษณะ ขึ้นอยู่กับว่าจะยึดอะไรเป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่ง มนุษย์จำเป็นต้องมีกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ ในการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้สังคม เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสงบสุข กฎหมายคืออะไร มนุษย์เป็นสัตว์สังคม โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ไม่สามารถที่จะดำรงชีวิตอยู่คนเดียวได้ จึงต้องรวมกันอยู่เป็นหมู่เป็นพวก เป็นกลุ่มเป็นก้อน เริ่มจากสังคมเล็ก ๆ ร