บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2017

กระบวนการยุติธรรม

รูปภาพ
กระบวนการยุติธรรม สรุป กระบวนการยุติธรรมของไทย  กระบวนการยุติธรรม หมายถึง การดำเนินการคดีเมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้น ระหว่างผู้เสียหายร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงานมีการสืบสวนหาข้อเท็จจริงกับผู้กระทำผิดจนถึงการฟ้องร้องต่อศาล ทั้งในกรณีของคดีแพ่งและคดีอาญา  บุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม  1. ประชาชน หมายถึง ประชาชนผู้เกี่ยวข้อง ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จำเลย พยาน  2. พนักงานสอบสวนหรือตำรวจ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ปลัดอำเภอ นายอำเภอ ผู้ว่าราชการจังหวัด  3. พนักงานอัยการ มีหน้าที่ฟ้องคดีผู้ถูกกล่าวหาต่อศาล เป็นทนายโจทก์หรือทนายจำเลย หรือทนายความของแผ่นดิน  4. ทนายความ คือ ผู้ที่ดำเนินคดีให้แก่ลูกความในศาล  5. ศาล มีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ  1. ศาลชั้นต้น คือ ศาลเริ่มต้นคดี แบ่งเป็น ศาลแขวง คือ ศาลพิจารณาคดีเล็ก ๆ เช่น ลักทรัพย์ ยักยอก ทำร้ายร่างกาย ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร 2. ศาลอุทธรณ์ คือ ศาลที่พิจารณาพิพากษาคดีที่ศาลชั้นต้นได้พิจารณาแล้ว ได้แก่  - ศาลอุทธรณ์  - ศาลอุทธรณ์ภาค 1 - ภาค 9  3. ศาลฎีกา

momay

รูปภาพ
เรามีนามว่า อัญญณี ลีลา เลขที่51 ห้อง591 6356601 วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมายทั่วไป สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ อาจารย์ผู้สอน อ.ปนัดดา ทรัพย์สมาน เกร็ดความรู้ กฎหมายคืออะไร     กฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่ใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษย์ในสังคม กฎหมาย มีลักษณะเป็นคำสั่ง ข้อห้าม ที่มาจากผู้มีอำนาจสูงสุดในสังคมใช้บังคับได้ทั่วไป ใครฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษหรือสภาพบังคับอย่างใดอย่างหนึ่ง     ระบบกฎหมายในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 4 ระบบ ได้แก่ ระบบกฎหมาย ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร     ระบบกฎหมายสังคมนิยม และระบบกฎหมายศาสนา กฎหมายแต่ละระบบย่อมมีที่มาแต่งต่างกัน การแบ่งประเภทของกฎหมาย อาจแบ่งได้หลาย ลักษณะ ขึ้นอยู่กับว่าจะยึดอะไรเป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่ง มนุษย์จำเป็นต้องมีกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ ในการอยู่ร่วมกัน เพื่อให้สังคม เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสงบสุข กฎหมายคืออะไร มนุษย์เป็นสัตว์สังคม โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ไม่สามารถที่จะดำรงชีวิตอยู่คนเดียวได้ จึงต้องรวมกันอยู่เป็นหมู่เป็นพวก เป็นกลุ่มเป็นก้อน เริ่มจากสังคมเล็ก ๆ ร